|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • หาดกรวดหินงาม.

หาดกรวดหินงาม

  • DCIM100MEDIADJI_0055.JPG

เกาะหินงาม : ความงามที่คลื่นน้ำรังสรรค์ “ผู้ใดบังอาจเก็บหินจากเกาะนี้ไป ผู้นั้นจะพบซึ่งความหายนะนานัปการ”

ป้ายคำสาปนี้ตั้งอยู่บนเกาะเล็กๆ แห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างจากเกาะอาดังไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 3 กิโลเมตร ชื่อว่า “เกาะหินงาม” หรือเกาะบุโล๊ะ เกาะแห่งนี้มีขนาดประมาณ 200 x 600 เมตร ลักษณาการสำคัญที่ดึงดูดนักเดินทางให้ต้องแวะไปชม คือก้อนหินอันกลึงกลมจำนวนมหาศาล งดงามราวกับถูกขัดถูจากช่างฝีมือมานมนาน ก่อนนำมากองรวมกัน แล้วแผ่ผืนกลายเป็นสันดอนกรวดหินงามบนเนื้อที่ประมาณ 3 – 4 ไร่ ปลายแหลมทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ แต่ช่างฝีมือที่ว่านี้ไม่ใช่มนุษย์ หากแต่เป็นฝีมือรังสรรค์จากธรรมชาติล้วนๆ โดยเฉพาะกระแสคลื่นน้ำที่หลากไหลลูบโลมก้อนหิน ซ้ำไปซ้ำมาอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน กระทั่งหินเกิดการขัดสี และกร่อนสลายจนเกลี้ยงกลม คงเหลือเฉพาะส่วนที่แกร่ง แสดงริ้วลายแทรกสลับชั้นให้เห็นอย่างสวยงาม นักธรณีวิทยา อธิบายว่า หินที่พบบนเกาะนี้ คือ “หินฮอร์นเฟลส์” (Hornfel) ซึ่งจัดเป็นหินแปรชนิดหนึ่ง (กลุ่มหินแก่งกระจาน ยุคเพอร์เมียน) ที่เกิดจากการแปรสัมผัสจากหินเดิมที่มีเนื้อละเอียด เช่น หินดินดาน หินโคลน หรือหินชนวน เป็นต้น โดยการแปรแบบสัมผัสบริเวณนี้ เกิดขึ้นเมื่อหินเดิมได้รับความร้อนจากการแทรกดันตัวขึ้นมาของแมกมา หรือหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ทำให้แร่เกิดการเปลี่ยนแปลงและหินเดิมเกิดความแกร่งมากขึ้น จากการนำหินไปศึกษา แร่ประกอบหลักที่พบ คือแร่ไมกา แร่เฟลด์สปาร์ แร่ควอตซ์ และมีแร่ในกลุ่มคลอไรต์เล็กน้อย ว่ากันว่า แหล่งกำเนิดของหินงามเหล่านี้จะอยู่ทางใต้ของเกาะ โดยกระแสคลื่นน้ำได้ทำให้ชั้นหินฮอร์นเฟลส์ ที่มีแนวแตกหลายทิศทาง เกิดการแตกหักออกเป็นก้อนขนาดเล็กลง เสริมกับแรงของกระแสน้ำเลียบชายฝั่ง ก้อนหินจึงถูกขัดสีซ้ำไปมาจนกลมมน และเล็กลงตามระยะทางที่ถูกพัดพา แล้วไปสะสมตัวกลายเป็นหาดกรวดหินอยู่ในตำแหน่งปัจจุบันบนเกาะ แลดูเกลื่อนกล่นมันวาว โดยเฉพาะเวลาที่ต้องประกายแดด ในมุมมองทางธรณี หินฮอร์นเฟลส์จัดเป็นหินแปรแบบไม่มีริ้วขนาน (non – foliate) เม็ดแร่ไม่มีการเรียงตัว หินมีเนื้อละเอียด สีดำหรือน้ำตาลเข้ม ถ้าประกอบด้วยผลึกขนาดเล็กของแร่ไบโอไทต์จำนวนมาก หินจะมีเนื้อเนียนและวาวคล้ายกำมะหยี่ และมีการเล่นแสงเมื่อแสงตกกระทบ

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)