|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย.

เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย

 

เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงายเป็นพื้นที่รอยสัมผัสแบบรอยเลื่อนระหว่างหินทรายยุคแคมเบรียนและหินปูนยุคออร์โดวิเชียน นี่คือคำอธิบายสภาพทางธรณีวิทยาและจุดเด่นของเขตข้ามกาลเวลา เมื่อก่อนพื้นที่นี้เคยมีนักธรณีวิทยามาศึกษาสำรวจมาก่อนแล้วทำให้ทราบลักษณะความเป็นมาของลักษณะธรณีวิทยา แต่เนื่องจากการเข้าถึงพื้นที่ที่ลำบากต้องรอมาตอนน้ำลงและปีนป่ายโขดหินลงมาเพื่อที่จะได้ยลโฉม แต่เมื่ออุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตราได้สร้างเส้นทางศึกษาธรรมชาติบริเวณรอยสัมผัสนี้ เขตข้ามกาลเวลาจึงเป็นแหล่งอนุรักษ์ธรณีวิทยาที่มีคุณค่าในตัวเอง สามารถเล่าเรื่องราวทางวิชาการแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม ทั้งยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกทะเลที่สวยงามด้วย

เขตข้ามกาลเวลาตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกฉาน-ไทย ซึ่งเป็น 1 ใน 2 ของแผ่นเปลือกโลกที่ประกอบกันเป็นประเทศไทย ที่เคลื่อนที่มาชนกันเมื่อประมาณ 250 ล้านปีก่อน ธรณีวิทยาทั่วไปบริเวณเขตข้ามกาลเวลา ประกอบด้วยหินตะกอนมหายุคพาลีโอโซอิก ซึ่งมีการสะสมตะกอนอย่างต่อเนื่องกันมาตั้งแต่เมื่อประมาณ 541 ล้านปีที่แล้ว โดยหินตะกอนที่พบสามารถพบได้ 2 ยุค คือ หินทรายสีแดงของกลุ่มหินตะรุเตายุคแคมเบรียน และหินปูนสีเทาเข้มของกลุ่มหินทุ่งสงยุคออร์โดวิเชียน โดยปกติแล้วหินทั้งสองยุคนี้ มีรอยสัมผัสแบบค่อย ๆ เปลี่ยน นั่นคือ จากหินทรายของกลุ่มหินตะรุเตาจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นหินดินดานแทรกสลับชั้นกับหินปูน จากนั้นชั้นของหินดินดานจะลดหายลงไปเรื่อย ๆ และสุดท้ายกลายเป็นชั้นหินปูนหนาของกลุ่มหินทุ่งสงในที่สุด แต่บริเวณเขตข้ามกาลเวลาแห่งนี้ พบหลักฐานรอยเลื่อนของเปลือกโลก ซึ่งลากดึงหินปูนยุคออร์โดวิเชียนให้เลื่อนลงมาสัมผัสกับหินทรายยุคแคมเบรียน เกิดเป็นลักษณะรอยสัมผัสแบบรอยเลื่อน (Fault contact) ทำให้เห็นหินทรายอยู่ชิดติดกับหินปูน โดยชนิดหินไม่มีการค่อย ๆ เปลี่ยนแต่อย่างใด

การเกิดเขตข้ามกาลเวลานั้น มีลำดับการเกิดเริ่มจากมีการสะสมตะกอนตามชายฝั่งทะเลต่อเนื่องถึงบริเวณไหล่ทวีป โดยเป็นการสะสมตะกอนแบบทรายและทรายแป้งในยุคแคมเบรียน และตะกอนคาร์บอเนต (หินปูน) ในยุคออร์โดวิเชียน จากนั้นเกิดรอยเลื่อนในชั้นหิน และจากแรงดึงของแผ่นเปลือกโลก ทำให้ชั้นหินทางด้านขวามือของรอยเลื่อนถูกดึงลากลงมา เมื่อเวลาผ่านไป เกิดกระบวนการปรับสภาพพื้นผิวโลกหินปูนเกิดการผุกร่อน จนกลายเป็นภูมิประเทศหินปูน (Karst) หินยังคงผุกร่อนต่อไปและน้ำทะเลได้รุกท่วมพื้นที่ทั้งหมด ทำให้เกิดเป็นหาดหินริมทะเล ที่แสดงรอยต่อของเขตข้ามกาลเวลาดังที่เห็นในปัจจุบัน

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)