|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • เมนูดึกดำบรรพ์.

เมนูดึกดำบรรพ์

เมนูดึกดำบรรพ์ เป็นการส่งเสริมให้ร้านอาหารที่อยู่ในพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูลได้สร้างสรรค์เมนูอาหารจากวัตถุดิบสดๆ ในทะเล สร้างความแปลกใหม่ให้กับเมนูอาหารท้องถิ่นซึ่งมีการเชื่อมโยงเรื่องราวโดนเด่นทางธรณีวิทยาอุทยานธรณีโลกสตูลที่พบฟอสซิลทั้ง 6 ยุค โดยได้มีการประยุกต์ชื่อเมนูอาหารเป็นชื่อฟอสซิลที่พบเจอในพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับเมนูอาหารที่มีลักษณะเฉพาะตัวไม่เหมือนใคร นอกจากนี้ยังมีการจัดงานประกวดเมนูดึกดำบรรพ์เป็นประจำทุกปี

เมนูดาวล้อมเดือนสะเทือนไทรโลไบต์ 

วัตถุดิบที่ใช้   1.ไข่แมงดาทะเล  2. แป้งข้าวเหนียว  3.น้ำตาลอ้อย  4. เกลือ5. น้ำตาลทรายแดง 6.เนื้อมะพร้าวน้ำหอม  7.ใบเตยสด 8.กะทิสด  9.งาขาวคั่ว

การเชื่อมโยงด้านธรณี   ฟอสซิลไทรโลไบต์หรือบรรพบุรุษแมงดาทะเลในปัจจุบัน พบสายพันธุ์ใหม่ของโลกบริเวณอ่าวเมาะและบนเกาะตะรุเตา

เมนูยำไข่ไทรโลไบต์

วัตถุดิบที่ใช้  1.แมงดาทะเล   2. มะม่วง  3.หอมแดง  4. พริกสด

5.น้ำตาลทราย  6. น้ำปลา 7.มะเขือเทศ 8 เม็ดมะม่วงหิมพานต์

การเชื่อมโยงด้านธรณี ฟอสซิลไทรโลไบต์หรือบรรพบุรุษแมงดาทะเลในปัจจุบัน พบสายพันธุ์ใหม่ของโลกบริเวณอ่าวเมาะและบนเกาะตะรุเตา

 เมนูน้ำพริกสหร่ายสโตรมาโตไลต์  

วัตถุดิบที่ใช้  1. สาหร่ายลาโต๊ด 2. หอมแดง 3.พริกสด 4.มะนาว 5. ถั่วลิสง 6.เกลือ 7. น้ำตาล 8.เม็ดมะม่วงหิมพานต์ 9. มะนาว 10.กะปิ

การเชื่อมโยงด้านธรณี  ฟอสซิลสโตรมาโตไลต์ หรือไซยาโนแบคทีเรียที่มีส่วนในการช่วยผลิตออกซิเจนให้กับโลก พบมากทั่วบริเวณอุทยานธรณีโลกสตูล

      เมนูนอติลอยด์ล่องนาวา       

วัตถุดิบที่ใช้  1.หมึก  2. กระเทียม 3.หัวหอม 4.น้ำมันพืช 5.เครื่องเทศ 6.เกลือ 7.น้ำกะทิ 8.มะเขือยาว 9.น้ำตาลปีก  10.ใบยอดหมุย

การเชื่อมโยงด้านธรณี  ฟอสซิลนอติลอยด์ หรือหมึกทะเลโบราณพบในหินปูนยุคออร์โดวิเชียน

เมนูนอติลอยด์ชุบแป้งทอด         

วัตถุดิบที่ใช้  1. หมึก  2. เกลือ 3. น้ำมัน 4.แป้งทอดกรอบ 5. กะหล่ำปี

  1. มะเขือเทศ

การเชื่อมโยงด้านธรณี  ฟอสซิลนอติลอยด์ หรือหมึกทะเลโบราณพบในหินปูนยุคออร์โดวิเชียน

เมนูนอติลอยด์ผัดน้ำดำ        

วัตถุดิบที่ใช้  1.หมึก 2. ตะใคร้ 3. กระเทียม 4.หัวหอม  5.น้ำมัน

  1. ใบมะกรูด 7.น้ำมะขาม 8. น้ำตาลปีก

การเชื่อมโยงด้านธรณี  ฟอสซิลนอติลอยด์ หรือหมึกทะเลโบราณพบในหินปูนยุคออร์โดวิเชียน

เมนูแบรคิโอพอด ผัดฉ่า

วัตถุดิบที่ใช้  1. หอย 2. ใบโหราพา  3. กระเทียม 4.หัวหอม  5.น้ำมัน

  1. พริกหยวกสีแดง 7.น้ำปลา 8. น้ำตาล 9. หอมใหญ่

การเชื่อมโยงด้านธรณี  แบรคิโอพอด (Brachiopod) เป็นสัตว์ทะเลมีลักษณะคล้ายหอยกาบคู่ เช่น หอยแครง แต่ต่างกันที่เปลือกทั้ง ๒ ฝา ที่มีขนาดไม่เท่ากัน แต่ฝาเดียวกันจะมีลักษณะด้านซ้าย และด้านขวาสมมาตรกัน

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)