|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • หมู่เกาะบุโหลน.

หมู่เกาะบุโหลน

เกาะบุโหลนเล
ที่ตั้ง : อยู่ห่างจากท่าเรือปากบารา 22 กิโลเมตร
การเดินทาง : นั่งเรือโดยสารจากท่าเรือปากบารา-เกาะบุโหลนเล ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1.30 ชั่วโมง มีเรือให้บริการวันละ 1 เที่ยวทุกวันในฤดูท่องเที่ยว
จุดเด่น : เกาะบุโหลนเลนับเป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทางและการท่องเที่ยวในกลุ่มเกาะบุโหลน นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะเป็นชาวต่างชาติ บนเกาะมีชุมชนชาวบ้านอยู่กลางเกาะ มีโรงเรียนประถมอยู่ด้านหน้าเกาะ ส่วนตามชายหาดต่างๆนั้น เป็นที่พักสไตล์บังกะโล ริมหาดกระจายอยู่ทั่วไปสามารถเดินเที่ยวได้รอบเกาะ และถนนกลางเกาะยังเชื่อมจากหน้าเกาะไปหลังเกาะได้ด้วย
อ่าวเด่นๆของเกาะบุโหลนเลได้แก่
อ่าวหน้าแกะ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของเกาะ ลักษณะหาดเป็นลักษณะแหลมทรายขาวสะอาดยื่นเหยียดตรงออกไปในน่านน้ำสีมรกต ระดับความลาดเอียงต่ำจึงลงเล่นน้ำได้ดี ริมหาดร่มรื่นไปด้วยทิวสน เหมาะสำหรับการแค้มปิ้ง กางเต็นท์ริมหาด ยามเช้ายังสามารถชมพระอาทิตย์บริเวณหน้าหาดไดด้วย
อ่าวม่วง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะ มีลักษณะเป็นโขดหินและเชิงผา ส่วนตัวอ่าวนั้นมีแนวชายหาดเล็กๆน้ำค่อยข้างสงบนิ่ง เหมาะสำหรับการดำน้ำชมปะการัง อ่าวพังกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะเป็นหาดหินกว้างใหญ่ นับเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่สวยและแปลกที่สุดของเกาะ จากหน้าเกาะใช้เวลาเดินเท้าเพียง 15 นาทีก็ถึงแล้ว
นอกจากอ่าวเด่นๆ เหล่านี้แล้วยังมีอ่าวเล็กๆ ที่สามารถเดินเลียบชายหาดจากอ่าวหน้าเกาะไปเที่ยวได้ และยังสามารถเที่ยวชมวิถีชีวิตชาวบ้านที่ส่วนใหญ่เป็นชาวเลประกอบอาชีพทำประมงขนาดเล็ก เป็นความสงบงามที่อยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติอย่างน่าชื่นชม
สิ่งอำนวยความสะดวก
มีที่พักเอกชนไว้บริการ

เกาะบุโหลนดอน
ที่ตั้ง : ทิศตะวันออกของเกาะเกาะบุโหลนเล
การเดินทาง : เหมาเรือหางยาวจากเกาะบุโหลนเล ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 20 นาที หรือติดต่อเหมาเรือได้ที่ทุกรีสอร์ทบนเกาะบุโหลนเล สามารถเที่ยวได้หลายเกาะตั้งแต่ เกาะบุโหลนดอน บุโหลนไม้ไผ่ เกาะบุโหลนรังและเกาะหินขาว
จุดเด่น : หากยืนอยู่ที่หากหน้าเกาะของเกาะบุโหลนเล จะสามารถมองเห็นเกาะบุโหลนดอนอยู่ใกล้ๆ โดยเฉพาะวิวยามพระอาทิตย์ขึ้นจะสวยงามมาก เกาะนี้มีขนาดเล็กกว่าเกาะบุโหลนเลประมาณครึ่งเกาะ บนเกาะมีชุมชนชาวประมงเล็กๆอาศัยอยู่ เสน่ห์ของเกาะนี้อยู่ที่หาดทรายที่ยาวและกว้างสวยงามลักษณะคล้ายรูปตัว v ยื่นลงไปในทะเล น้ำทะเลสีสวยใส น่าลงเล่นน้ำ แม้ว่าเป็นที่มีชุมชนชาวประมงอาศัยอยู่ แต่ก็มีบรรยากาศที่เงียบสงบ ร่มรื่นน่าไปเที่ยว โดยเฉพาะชาวต่างชาติที่มักจะพักที่เกาะเกาะบุโหลนเลหลายๆวัน แล้วอยากเปลี่ยนบรรยากาศก็เหมาเรือหางยาวมาเที่ยวเกาะเกาะบุโหลนดอน เพลิดเพลินกับการเล่นน้ำหรือพักผ่อนหย่อนใจบนชายหาด อาบแดดซึ่งเกาะเกาะบุโหลนดอนมีความเป็นส่วนตัวกว่า
สิ่งอำนวยความสะดวก : บนเกาะมีเพียงชุมชนชาวประมงเล็กๆอาศัยอยู่ทางด้านทิศตะวันออดของเกาะ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เลือกพักบนเกาะเกาะบุโหลนเล แล้วเหมาเรือหางยาวมาเที่ยวแบบไปกลับในวันเดียว

เกาะบุโหลนไม้ไผ่
ที่ตั้ง : อยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะบุโหลนเล
การเดินทาง : เหมาเรือหางยาวมาจากเกาะบุโหลนเล ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 20 นาที หรือติดต่อเหมาเรือได้ที่ทุกรีสอร์ทบนเกาะบุโหลนเล สามารถเที่ยวได้หลายเกาะตั้งแต่ เกาะบุโหลนดอน บุโหลนไม้ไผ่ เกาะบุโหลนรังและเกาะหินขาว
จุดเด่น : เกาะบุโหลนไม่ไผ่เป็นเกาะที่มีขนาดเล็กกว่าเกาะบุโหลนดอนเล็กน้อย บนเกาะไม่มีคนอยู่บรรยากาศรอบเกาะจึงค่อนข้างสงบเงียบ บนเกาะมีหาดทรายอยู่สองด้าน ด้านทิศตะวันตกมีหาดทรายเล็กๆที่ทัทรายขาวสะอาดสวยงาม มีความยาวประมาร 200 เมตร ส่วนด้านทิศตะวันออกเป็นแนวหาดทรายยาวประมาณ 500 เมตร เหมาะกับการพักผ่อนที่เป็นส่วนตัว แวะเที่ยวลงเล่นน้ำทะเล ก่อนเดินทางกลับเกาะบุโหลนเล นอกจากนี้ยังศาลาชมวิวตั้งอยู่บนเนินเขาที่ให้นั่งพักพร้อมชมวิวเกาะบุโหลน และแนวหาดเกาะเกาะบุโหลนไม้ไผ่ได้ทั้งสองด้าน
ทั้งสามเกาะตระกูลบุโหลน จัดว่าเป็นเกาะที่มีหาดทรายขาวสะอาด น้ำะทะเลสีสวย นั่งเรือไปเที่ยวได้สะดวก และยังขึ้นชื่อว่าเป็นแหล่งดำน้ำชมปะการังหลากสี พันธุ์ปลาหลายชนิด เหมาะสำหรับผู้ชื่นชอบการดำน้ำและบรรยากาศสงบ ร่มรื่นสวยงามด้วยทิวสน
สิ่งอำนวยความสะดวก : บนเกาะไม่มีที่พัก แต่มีลานกางเต็นท์และห้องน้ำบริการ มีเจ้าหน้าที่จากหน่วยพิทักษ์อุทยานฯดูแลอยู่ สำหรับนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่นิยมค้างคืนบนเกาะบุโหลนเล แล้วเหมาเรือมาเที่ยวเกาะนี้แบบไปกลับ

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)