|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • พริกไทยสุไหงอุเป.

พริกไทยสุไหงอุเป

วิสาหกิจชุมชนพริกไทยพื้นเมืองสุไหงอุเป

ที่ตั้ง

ที่อยู่ : เลขที่ ๑๑๘ หมู่ที่ ๖ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล 91120

โทรศัพท์ : 0๙ ๑๐๒๔ ๐๙๘๘ /๐๙ ๑๐๒๔ ๐๙๘๘

ทะเบียน : 5-91-06-01/1-0041

e-mail : E-mail -tipong.siripong๒๕๑๕@gmail.com

ประวัติความเป็นมา


       ประมาณต้นปี ๒๕๕๗ จากภาวะเศรษฐกิจ ยางพารา ปาล์มน้ำมันฯลฯ ราคาไม่ดี ไม่รู้จะทำอะไร นั่งคิดทบทวนอยู่นานวัน ว่าเรามีอะไรบ้าง จุดแข็งจุดอ่อนอะไร ที่จะทำให้เกิดรายได้จุนเจือครอบครัวสมาชิกชุมชน ภาพในวัยเด็กที่เคยวิ่งเล่นซุกซนในสวนพริไทยของพ่อ เกิดขึ้นในความคิด ภาพที่พี่ๆใช้สายยางฉีดรดน้ำพริกไทย พ่อและพี่ๆขึ้นบันไดเก็บพริกไทยฯลฯ ประกอบกับได้ฟังเรื่องเล่า บันทึกจดหมายเหตุต่าง ๆเกี่ยวกับพริกไทยสุไหงอุเป ที่เคยสร้างความเจริญรุ่งเรืองอย่างสูงสุดให้แก่เมืองสุไหงอุเปในอดีต ก็ยิ่ทำให้เกิดความสนใจในพริกไทยเพิ่มมากขึ้น พริกไทยเริ่มชัดขึ้นในความคิด จึงได้ปรึกษากับญาติพี่น้องเพื่อนที่สนใจ ประกอบกับในพื้นที่มี พริกไทยพื้นเมืองสุไหงอุเปดั้งเดิมที่ปลูกอยู่ในละแวกบ้าน มีเหลืออยู่น้อยมาก คนรุ่นใหม่แทบจะไม่รู้จัก เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ฟื้นฟุ ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึง มีความเห็นสรุปร่วมกันที่จะปลูกพริกไทยพื้นเมืองสุไหงอุเป และได้จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า” วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพริกไทยพื้นเมืองสุไหงอุเป” เริ่มแรกมี สมาชิก๗ คน ในญาติพี่น้องกัน เริ่มปลูกพริกไทยครั้งแรกโดยใช้ต้นพันธุ์ดั้งเดิมของพ่อ และจากละแวกบ้าน ได้ ๒๐ ต้น ประมาณเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ ที่หมู่ ๖ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลประมาณปลายปี ๒๕๖๑ วิทยาลัยชุมชนสตูลได้เข้ามาเยี่ยมชมและจัดการความรู้ให้ ในเรื่องของการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพริกไทยเป็น “ขนมพริกไทยสุไหงอุเปและขนมเต้าส้อไส้พริกไทยสุไหงอุเป”  มีสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมประมาณ ๒๒ คน เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้มีการสืบทอดสู่รุ่นต่อไปกลุ่มฯเริ่มก่อตั้งกลุ่ม เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งมีสมาชิกในกลุ่มประมาณ ๗ คน และเพิ่มเป็นจำนวน ๒๕ คน และได้มีการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑ชื่อ “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพริกไทยพื้นเมืองสุไหงอุเป” ปัจจุบันกลุ่มฯได้พยายามอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาการปลูกพริกไทยดั้งเดิมคงไว้ เช่น การปลูกพริกไทยพื้นเมืองแบบดั่งเดิมในพื้นถิ่นโดยใช้ค้างลิง ใส่ปุ๋ยหมัก การหมักพริกไทย การตากแห้ง การแปรรูปพริกไทย เป็นขนมพริกไทย ขนมเต้าส้อ และในอนาคตอยากจะทำคือยาหม่องพริกไทย น้ำมันหอมระเหยพริกไทย และการออกแบผลิตภัณฑ์ที่สวยงามชวนซื้อฯลฯ และคิดว่าจะเป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้ ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน อีกทางหนึ่ง

วิสัยทัศน์

“เป็นผู้ผลิตและส่งออกขนมพริกไทยที่มีคุณภาพ อร่อย และมีผลิตภัณฑ์สวยงาม ชวนซื้อ เป็นของฝากของชุมชนและจังหวัด”

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)