|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติบ้านท่าอ้อย.

ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติบ้านท่าอ้อย

ความสำคัญของหอสี่หลัง

คำว่า“ สี่หลัง” หมายถึง เนินทรายสี่เนินที่โผล่ขึ้นมาเหนือน้ำทะเลในระดับน้ำลง ประกอบด้วยเนินทรายทอดยาวต่อกัน ล้อมรอบด้วยหาดเลน แนวหญ้า และทะเลขนาดใหญ่

ความโดดเด่นของหอสี่หลัง คือพบหญ้าทะเลชนิดหญ้าใบพาย Halophila beccarii ซึ่งเป็นหญ้าทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศไทยขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและครอบคลุมพื้นที่เป็นผืนใหญ่ โดยหญ้าใบพายเป็นหญ้าทะเลเพียงชนิดเดียวของประเทศไทยที่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable species) ตามบัญชีแดงของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN redist) (ที่มาข้อมูล: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช))

หญ้าใบพาย Halophila beccarii Ascherson มีความสำคัญต่อระบบนิเวศอย่างไร ?

หญ้าใบพาย หรือหญ้าเงาแคระ เป็นหญ้าทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศไทย โดยมีความกว้างของแผ่นใบเพียง – 3 มม. ความยาวแผ่นใบประมาณ 4- 10 มม. จึงทำให้มีชื่อสามัญอีกชื่อว่า “หญ้าเงาแคระ” ซึ่งลักษณะที่แตกต่างจากหญ้าทะเลชนิดอื่น ๆ ในสกุลเดียวกันคือ แผ่นใบเรียวยาวคล้ายใบพายอันเป็นที่มาของชื่อสามัญว่า “หญ้าใบพาย” และพบในบริเวณที่มีความจำเพาะ เช่น บริเวณหาดโคลนใกล้ป่าชายเลน หรือปากแม่น้ำในเขตน้ำขึ้นน้ำลงเท่านั้น ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดไม่ใหญ่นักและเป็นพื้นที่ที่มักได้รับผลกระทบต่าง ๆ จากกิจกรรมของมนุษย์ทั้งการเพาะเลี้ยงชายฝั่งและการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง ซึ่งส่งผลต่อปริมาณตะกอนที่ไหลผ่านลงมายังพื้นที่ที่มีหญ้าใบพายเจริญอยู่

หญ้าใบพายเป็นหญ้าทะเลเพียงชนิดเดียวของประเทศไทยที่มีสถานภาพเป็นชนิดที่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable species) ตามบัญชีแดง (IUCN Red List))

หญ้าใบพาย

ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติบ้านท่าอ้อย (Natural dyed tie-dyed fabric in Ban Tha Oi) ชุมชนบ้านท่าอ้อยได้รวมตัวในเรื่องของการทำกิจกรรม หลังจากที่อุทยานธรณีสตูลได้รับการรับรองเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก ชาวบ้านในชุมชนท่าอ้อยก็อยากที่จะมีส่วนร่วมในเรื่องราวของอุทยานธรณีโลกสตูล จึงได้ริเริ่มให้มีการเรียนรู้เรื่องราวของทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นแล้วนำมาต่อยอดสร้างเรื่องราวทางผลิตภัณฑ์ชุมชนเป็นของตนเอง ซึ่งในพื้นที่บ้านท่าอ้อยได้มีป่าโกงกางเป็นจำนวนมาก หลังจากนั้นชาวบ้านก็ได้นำเรื่องราวของการทำผ้ามัดย้อมซึ่งเป็นการต่อยอดมาจากการศึกษาต้นแบบจากกลุ่มปันหยาบาติก ในเรื่องของการใช้สีจากธรรมชาติ ในส่วนของปันหยาบาติกจะเด่นในเรื่องของการใช้สีจากดิน แต่ทางกลุ่มชุมชนบ้านท่าอ้อยมีทรัพยากรเป็นป่าชายเลนเป็นส่วนใหญ่ จึงนำเอาวัสดุที่ได้จากป่าชายเลนมาทำสี โดยชาวบ้านก็ได้ทำการทดลองวัสดุให้สีที่อยู่ในป่าโกงกางที่เป็นส่วนของผลจากพันธุ์ไม้ที่ร่วงลงหรือหมดอายุแล้ว จึงได้สิ่งที่ดีที่สุดนั่นก็คือเปลือกจากผลของต้นตะบูน  เนื่องจากต้นตะบูนจะมีผลซึ่งผลของต้นตะบูนจะมียางสีขาวซึ่งยางสีขาวเมื่อทำปฏิกิริยาจะเปลี่นยางเป็นสีน้ำตาลซึ่งสามารถนำไปย้อมสีผ้าได้  จนได้ได้เป็นผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติได้สำเร็จ นอกจากนั้นยังเป็นเป็นกิจกรรมให้กับนักท่องเที่ยวที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมทำผ้ามัดย้อม โดยมีขั้นตอนการทำดังนี้ คือ 1.การเลือกลาย  2.การมัดผ้า  3.การจุ่มสี  4.การลงน้ำด่าง  5.การผึ่งแดด  ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเชื่อมโยงทำกิจกรรมรวมทั้งยังได้รับความรู้ในเรื่องทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์อีกด้วย นอกจากนั้นชาวบ้านยังได้นำเรื่องราวของอุทยานธรณีโลกสตูลที่พบเจอฟอสซิลมาทำเป็นลวดลายต่างๆ ลงบนผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มโดยการสร้างลายให้เป็นรูปต่าง ๆ เช่น ฟอสซิลที่เจอในพื้นที่ โดยอาชีพหลักๆ ก่อนหน้านี้จะเป็นการกรีดยาง ซึ่งพอมีส่วนของเครือข่ายอุทยานธรณีโลกสตูลเข้ามาก็ทำให้เกิดการประชาสัมพันธ์มากขึ้นจนตอนนี้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมเป็นอย่างมาก

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)