|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • ประเพณีไหว้ผีโบ๋.

ประเพณีไหว้ผีโบ๋

       

ประเพณีไหว้ผีโบ๋ (ผีหมู่ หรือ พวกผีทั้งหมด )

นิยามศัพท์ภาษาถิ่นใต้ คำว่า “โบ๋” แปลว่า หมู่ พวก  ประเพณีไหว้ผีโบ๋ เป็นงานประเพณีที่มีความสำคัญ โดยได้สืบทอดกันมาคู่กับอำเภอทุ่งหว้าตั้งแต่อดีต ในยุคแรก ๆ การไหว้ผีโบ๋ได้แยกกระทำเป็นตระกูลแต่ละตระกูลไป ตระกูลใครก็ตระกูลมัน ต่อมาเมื่อแต่ละตระกูลมีลูกหลานมากขึ้น จึงได้มาทำพิธีไหว้ร่วมกันเป็นพิธีใหญ่เพียงครั้งเดียว

การไหว้ผีโบ๋ (ผีหมู่) หมายถึง การไหว้ผีหัวหลาด (บริเวณตลาดหน้าโรงภาพยนตร์ทุ่งหว้าเก่า) ไหว้หน้าตลาด ไหว้กลางเมือง เพื่อทำบุญอุทิศให้แก่ผู้ที่ตายไปแล้วไม่มีญาติคอยทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้นั้นเอง ในการประกอบพิธีไหว้ผีโบ๋นั้น จะต้องมีผู้ประกอบพิธี 1 คน เรียกว่า นายหัวหรือหัวหน้า พร้อมผู้ช่วยอีก 4 -5 คน เป็นลูกมือ สำหรับหัวหน้าก็จะมีการคัดเลือกโดยการเสี่ยงทายเรียกว่า “ ปั๋วโป๊ย”ซึ่งจะทำการเสี่ยงทายเพื่อหาหัวหน้าไว้เป็นการล่วงหน้าเป็นประจำทุกปี มีรายละเอียดของการเสี่ยงทาย ดังนี้

คว่ำหนึ่งอัน หงายหนึ่งอัน เรียกว่า เซ้งโป๊ย หมายถึง รับเอา

คว่ำทั้งสองอัน เรียกว่า อิ้มโป๊ย หมายถึง ไม่รับ หัวเราะ

หงายทั้งสองอัน เรียกว่า เฉี้ยวโป๊ย หมายถึง ยิ้มหรือรับครึ่งหนึ่ง ไม่รับครึ่งหนึ่ง

ในการปั๊วโป๊ยแต่ละครั้งอาจใช้คนหลายคนมาเลือกโดยออกชื่อแล้วก็โยนไม้(ปั๋วโป๊ย)กว่าจะได้นายหัวแต่ละปีต้องใช้เวลาเลือกกันนานพอสมควรที่เดียวการไหว้ผีไม่มีญาติเป็นกิจกรรมสำคัญของวันสารทจีนมาแต่โบราณ ผีพวกนี้โบราณเรียกว่า“ลี่” ถือเป็นผีชั่วร้าย อิทธิพลพุทธศาสนาทำให้ทัศนะของผีพวกนี้เปลี่ยนไปเป็นผีที่น่าสงสาร จนปัจจุบันเรียกผีพวกนี้ว่า “ฮอเฮียตี๋”แปลว่า “พี่น้องที่ดี” การไหว้ผีพวกนี้ไม่ไหว้ในบ้าน นิยมไหว้ริมถนนหนทาง ชายน้ำ สมัยโบราณจัดสถานที่ไหว้นอกเมือง เรียกว่า “ลี่ถาน”ในอดีตการไหว้ผีไม่มีญาติเป็นกิจกรรมสำคัญที่ขาดไม่ได้ นอกจากไหว้ในวันสารทจีน 15 ค่ำ เดือน 7 แล้วยังไหว้ในวัน 1 ค่ำ และ วัน 30 ค่ำ ซึ่งเป็นวันเปิดประตูยมโลก และปิดประตูยมโลกอีกด้วย ปัจจุบันการไหว้ “ฮอเฮียตี๋” ยกไปไหว้รวมกันเป็นกิจกรรมของชุมชน โดยเรียไรเงิน ข้าวของไปจัดพิธี “ซีโกว”ไหว้ผีไม่มีญาติหลังวันสารทจีน พิธีทิ้งกระจาด (ซีโกว)เป็นการจัดข้าวสาร อาหารแห้งเครื่องอุปโภคบริโภคใส่อ่างหรือกระจาดหลักการสำคัญของพิธี คือ แจกทานแก่คนยากจนอุทิศส่วนกุศลแก่ผีไร้ญาติเอาข้าวของที่มีผู้บริจาคมาแจกแก่ผู้มารับทานซึ่งส่วนมากเป็นคนยากจนซึ่งต้องจัดก่อนวัน 30 ค่ำ เดือน 7 อันเป็นวัน “ปิดประตูยมโลก” ที่มาข้อมูล : http://www.satunpao.go.th/home.php?cmd=travel&id=33&type=1

 

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)