|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • น้ำตกธารสวรรค์.

น้ำตกธารสวรรค์

น้ำตกธารสวรรค์ สถานที่ตั้ง: บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล อยู่ห่างจากตัวอำเภอทุ่งหว้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร เป็นน้ำตกอยู่ในทางน้ำสาขาที่เป็นต้นน้ำไหลไปลงคลองราวปลา อยู่ห่างจากบ้านราวปลาไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นลำธารกว้างประมาณ 20 เมตร เข้าถึงได้ด้วยทางเท้าเท่านั้นโดยการเดินลัดเลาะไปตามริมฝั่งลำธารและบ้างก็ลัดข้ามลำธารไปมาตามโขดหินและซากท่อนไม้ เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ที่มีน้ำตกขนาดย่อมๆอีก 3-4 แห่ง ในช่วงของลำธารประมาณ 300-400 เมตร บริเวณน้ำตกหลักลำธารมีความกว้างมากกว่า 20 เมตร และเป็นน้ำตกสูงประมาณ 10 เมตร น้ำตกธารสวรรค์เป็นน้ำตกที่เกิดจากลำห้วยซึ่งไหลผ่านพื้นที่หินปูนแล้วนำพาสารละลายแคลเซียมคาร์บอเนตและตะกอนแขวนลอยมาพอกตัวสะสมบริเวณน้ำตก จนเกิดลักษณะคล้ายทำนบไหลลดหลั่นกันลงมาอย่างสวยงาม พื้นที่น้ำตกเป็นหินปูนเนื้อละเอียด สีเทา หินปูนบริเวณนี้มีลักษณะเป็นชั้นบาง ชั้นหินมีความหนาน้อยกว่า 1 เซนติเมตร ชั้นหินมีการวางตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยมุมเอียงเท 18 องศา มีการสลับกันระหว่างชั้นหินปูนกับชั้นหินปูนเนื้อดิน โดยชั้นหินปูนจะเห็นเป็นร่องลึกลงไปขณะที่ชั้นหินปูนเนื้อดินจะมีลักษณะเป็นสันนูนขึ้นมา บางบริเวณพบชั้นหินปูนเนื้อละเอียดสีเทาหนา 5-10 เซนติเมตรที่แสดงลักษณะโครงสร้างชั้นเฉียงระดับฮัมมอคกี้ ซึ่งเป็นโครงสร้างที่เกิดขึ้นทางด้านบนของฐานคลื่นขณะที่เกิดพายุรุนแรงเท่านั้น ทำให้ทราบว่าเป็นการตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบลากูน ซึ่งเป็นแหล่งน้ำใกล้ทะเลที่ได้รับอิทธิพลทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยทั่วไปจะมีสภาพแวดล้อมที่สงบนิ่ง จากลักษณะหินและการลำดับชั้นหินดังกล่าว กล่าวได้ว่ามีลักษณะคล้ายหมวดหินแลตองซึ่งเป็นหมวดหินหนึ่งของกลุ่มหินทุ่งสงยุคออร์โดวิเชียน โดยผู้ที่เข้าชมจะต้องติดต่อล่วงหน้าอย่างน้อย 2 วัน ทำการที่พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูลตามพิกัดด้านล่างนี้ หรือติดต่อทางLINE@ อุทยานธรณีโลกสตูลด้านล่างนี้

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)