|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • ท่องเที่ยวชุมชนตำบลนาทอน.

ท่องเที่ยวชุมชนตำบลนาทอน

ศูนย์เรียนรู้สมุนไพรทักษอร อุทยานธรณีโลกสตูล

1.ผงสมุนไพรแช่มือแช่เท้า

ส่วนผสมสำคัญ ไพล ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ใบมะขาม และสมุนไพรอื่นรวมกว่าสิบชนิด

สรรพคุณ

-บรรเทาอาการปวดเมื่อย รองช้ำ และตะคริว

-ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ลดอาการชาที่ปลายมือปลายเท้า

ผงสมุนไพรแช่มือแช่เท้า

 

 

 

 

ลูกประคบ

ส่วนผสมสำคัญ ไพล ขมิ้น ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ใบมะขาม การบูร  และอื่น ๆ

สรรพคุณ

-บรรเทาอาการปวดเมื่อย ฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก

-ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

  1. น้ำมันไพล และ ยาหม่องไพล

ส่วนผสมสำคัญ ไพล ขมิ้น ตะไคร้ พิมเสน การบูร เมนทอล

สรรพคุณ  บรรเทาปวดเมื่อย ฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก สูดดมบรรเทาอาหารวิงเวียนได้ดี

                     

                                  น้ำมันเหลืองไพล                                         ยาหม่องไพล

น้ำมันมหาจักรและครีมน้ำมันมหาจักร

ส่วนผสมสำคัญ  ผิวมะกรูด เทียนทั้ง 5 ดีปลี การบูร

สรรพคุณ   สมานแผลสด แผลเปื่อย ลดผดผื่นคัน

                         น้ำมันมหาจักร                                                        ครีมน้ำมันมหาจักร

น้ำยาล้างจานรักษ์โลก

ผลิตจากน้ำหมักมะนาว ลดการใช้สารเคมี ล้างจานชามได้สะอาด ถนอมมือไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แหล่งฟอสซิลคลองห้วยบ้า

สายลำธารเป็นเส้นเขตพื้นที่ระหว่าง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า ซึ่งอยู่ทิศเหนือของลำธาร และตำบลกำแพง อำเภอละงู โดยสายลำธารห้วยบ้าจะไหลตามโขดหิน และน้ำตกขนาดเล็ก ผ่านโขดหินที่มีลักษณะโครงสร้างโดดเด่นคล้ายหินสาหร่ายสโตรมาโตไลต์ ผู้ผลิตออกซิเจนให้สิ่งมีชีวิตบนโลก นอกจากนี้ยังพบซากดึกดำบรรพ์ของปลาหมึกโบราณ (นอติลอยด์) ร่วมกับฟอสซิลสาหร่ายสโตรมาโตไลต์ บ่งบอกถึงสภาพสิ่งแวดล้อมโบราณในขณะที่หินสะสมตัว 2 ข้างของลำธาร พื้นที่มีความร่มรื่นด้วยต้นไม้หลายชนิด และมีความหลากหลายทางชีวภาพให้ศึกษา

หินที่โผล่บริเวณลำธารเป็นหินปูน ชั้นบางสีแดงมีโครงสร้างสโตรมาโตไลต์ ชั้นหินวางตัวเอียงเทไปทางทิศใต้ด้วยมุมเอียงประมาณ 25 องศา (157/25) บนหินพบโครงสร้างกุมภลักษณ์ (pothole) ได้ทั่วไป โดยเกิดจากกระแสน้ำพัดพากรวดมาหมุนวนขัดสีจนเป็นหลุ่ม ชั้นหินโผล่เหล่านี้จัดเป็นหมวดหินป่าแก่ บริเวณเขาน้อยทางด้านใต้ของคลองห้วยบ้าพบหมวดหินวังตงปิดทับอยู่ด้านบน (ที่มาข้อมูล: กรมทรัพยากรธรณี)

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)