|   Choose Lanaguage       

Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์
Learn More
  • Home.
  • ถ้ำทะลุป่าดึกดำบรรพ์.

ถ้ำทะลุป่าดึกดำบรรพ์

ถ้ำทะลุ เป็นถ้ำขนาดเล็ก ที่เกิดจากการละลายของหินคาร์บอเนต (หินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมต์)
ยุคออร์โดวิเชียน (ช่วงเวลาประมาณ 445-490 ล้านปี ล้านปีมาแล้ว) ปากถ้ำมีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 26 เมตร ถ้ำมีความยาว 88 เมตร ภายในถ้ำจะพบซากดึกดำบรรพ์ จำนวนมากตามแนวผนังถ้ำทั้งผนังซ้ายและขวา เช่น นอติลอยด์ แกสโตพอต และแบรคิโอพอด สิ่งมีชีวิตเหล่านี้เคยอาศัยอยู่ในทะเลหลายร้อยล้านปีก่อน นอกจากนั้น จะพบหลักฐานการเกิดและวิวัฒนาการของถ้ำอย่างชัดเจน ได้แก่ ร่องรอยของพื้นถ้ำโบราณ ร่องรอยการกัดเซาะของน้ำที่คงที่ในอดีต และจากหลักฐานเหล่านี้จึงทำให้รู้ได้ว่าเป็นถ้ำที่เกิดจากกระบวนการละลาย

สุดปลายถ้ำจะพบกับพื้นที่ราบ ขนาดประมาณ 10,000 ตารางเมตร เป็นหลุมยุบทรงกระบอกที่เกิดจากการยุบตัว และการพังทลายของโถงถ้ำ เพดานถ้ำเดิม จนเหลือแต่พื้นที่ราบ ทำให้มีสภาพแวดล้อมที่เกือบเป็นระบบปิดก่อให้เกิดระบบนิเวศที่มีลักษณะเฉพาะ และมีความหลากหลายทางชีวภาพโดยพืชพันธุ์ในหลุมยุบนี้มีความแตกต่างจากพื้นที่ด้านนอกถ้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยปัจจัย จาก ปริมาณแสง ความชื้น และลักษณะการระบายน้ำภายในหลุมยุบ จากลักษณะธรณีสัณฐานที่โดดเด่นของถ้ำทะลุสามารถสร้างความประทับใจให้ผู้มาเยือน เพราะหากเดินจนสุดปลายถ้ำจะพบที่ราบป่าหลุมยุบดึกดำบรรพ์ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์ไม้หลายชนิด รวมไปถึง เห็ดแชมเปญ ที่สวยงามบางฤดูกาล (ที่มาข้อมูล : กรมทรัพยากรธรณี)

 

เห็ด

เห็ดที่พบบริเวณอุทยานธรณีโลกสตูล ได้แก่ เห็ดราขนาดใหญ่ ซึ่งมีคุณสมบัติหลายด้าน เช่น นำมารับประทาน ทำเป็นสมุนไพร และมีประโยชน์ด้านอื่น เช่น สารสกัดออกฤทธิ์ สารมูลค่าสูง เป็นต้น จากข้อมูลสำรวจเห็ดราขนาดใหญ่นอกฤดูฝน พบว่าสามารถพบเห็ดได้ในท้องถิ่นและมีความหลากหลากชนิดถึง 51 ชนิดจาก 120 ตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่าพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูลมีความหลากหลายมาก นอกจากนี้ ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติยังมีเห็ดอีกหลายสายพันธุ์ เช่น เห็ดแชมเปญ เป็นเห็ดสวยงามซึ่งนำมาต่อยอดการท่องเที่ยวได้ และกลุ่มเห็ดรับประทานได้ ซึ่งนำมาเพาะเลี้ยงเพิ่มรายได้และสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งผลให้เกิดรายได้เสริมในชุมชน ท้ายที่สุด ชุมชนสามารถพึ่งตนเองจากการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์จากเห็ดราขนาดใหญ่ได้ (ที่มาข้อมูล:สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช))

เห็ดตีนแรด


เห็ดผึ้งครีบเทียบ

เห็ดจมูกหมูเห็ดปากหมู

เห็ดแชมเปญ

เห็ดขอนสกุล Lentinus

เห็ดกลุ่มหลินจืดชนิดที่ 1

เห็ดกลุ่มหลินจือชนิดที่ 2

เห็ด

เห็ดกรวยทองตากรู

เห็ดเกร็ดขาว

เห็ดเจลลี่สมองน้ำตาลแดง

ถ้ำทะลุที่มีหลุมยุบป่าดึกดาบรรพ์ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 700 ตร.กม. เป็นพื้นที่ปิดล้อมรอบด้วยแนวเขาหินปูนสูง มีต้นไม้มีขนาดไม่ต่ำกว่า 15-20 เมตร พบต้นไม้เด่นขนาดใหญ่ ได้แก่ ต้นท้ายเภายักษ์ (ชื่อท้องถิ่น) โดยมีชื่อสามัญคือ สารองกะโหลก และชื่อวิทยาศาสตร์คือ Scaphium scaphigerum (Wall. ex G. Don) G. Planch. ในวงศ์ Malvaceae จำนวน 4-5 ต้น กระจายตัวตามมุมของพื้นที่ ต้นไม้หลักอีกชนิดที่พบกระจายตัวโดยรอบจำนวนมากและขึ้นเป็นกลุ่มคือ ต้นกระดาด ชื่อวิทยาศาสตร์ Alocasia macrorrhizos (L.) G.Don. และต้นลูกชก หรือ ต้นชิด Arenga pinnata (Wurmb) Merr. โดยพืชเหล่านี้เป็นพืชในป่าฝนเขตร้อน

ต้นท้ายเภายักษ์ ชื่อท้องถิ่น มีชื่อสามัญคือ สารองกะโหลก มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Scaphium scaphigerum (Wall. ex G. Don) G. Planch. ในวงศ์ Malvaceae

 

ต้นกระดาด ชื่อวิทยาศาสตร์ Alocasia macrorrhizos (L.) G.Don.

ต้นลูกชก หรือ ต้นชิด Arenga pinnata (Wurmb) Merr.

(ที่มาข้อมูล: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช))

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล
    • ผู้บริหารอุทยานธรณีสตูล
    • กำเนิดแผ่นดินอุทยานธรณีสตูล
    • หลักฐานพื้นทะเล 500 ล้านปี
    • ผลิตก๊าชออกซิเจนให้กับโลก
    • ภูมิประเทศอันหลากหลาย
    • หลักฐานแรกวิถีชีวิตกับแผ่นดิน
    • ประวัติศาสตร์มเชื่อมโยงผู้คน
    • อุทยานธรณีในปัจจุบัน
    • ความสำคัญในระดับนานาชาติด้านธรรมชาติ
    • กฏหมายคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
    • ข้อมูลงานวิจัยและสื่อ
      • โปสเตอร์ท่องเที่ยวตามอำเภอ
      • ฟอสซิลยุคแคมเบรียน
      • ฟอสซิลยุคออร์โดวิเชียน
      • ฟอสซิลยุคไซลูเรียน
      • ฟอสซิลยุคดีโวเนียน
      • ฟอสซิลยุคคาร์บอนิเฟอรัส
      • ฟอสซิลหลังยุคเพอร์เมียนลงมา
      • Geological Differences between Langkawi and Satun Geoparks
      • Biostratigraphy and Karst Morphology of Satun Aspiring Geopark
    • เดินทางสู่อุทยานธรณีสตูล
    • โรงแรม ที่พักและร้านอาหาร
    • เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
  • แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล-หมู่เกาะ
    • หมู่เกาะอาดัง
    • หาดกรวดหินงาม
    • เกาะหลีเป๊ะ
    • ซุ้มหินชายฝั่งเกาะไข่
    • หาดทรายขาว เกาะราวี
    • ปะการังเจ็ดสีบริเวณร่องน้ำจาบัง
    • หมู่เกาะดง
    • เกาะหินซ้อน
    • เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย
    • หาดปากบารา
    • หาดราไว
    • หาดสันหลังมังกร ตันหยงโป
    • ปราสาทหินพันยอด
  • แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย
    • ถ้ำเล สเตโกดอน
    • ท่าเทียบเรือบ้านท่าอ้อย
    • เขาทะนาน
    • น้ำตกธารปลิว
    • ถ้ำภูผาเพชร
    • น้ำตกวังสายทอง
    • ล่องแก่งวังสายทอง
    • ถ้ำเจ็ดคต
    • ถ้ำอุไรทอง
    • น้ำตกธารสวรรค์
    • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด
  • แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
    • พิพิธภัณฑ์อุทยานธรณีโลกสตูล
    • แมงดาทะเลโบราณเกาะตะรุเตา
    • ฟอสซิลนอติลอยด์เขาแดง
    • ลำดับชั้นหินเขาน้อย
    • ลานหินป่าพน
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์เขาน้อย
    • ฟอสซิลสโตรมาโตไลน์ท่าแร่
    • ฟอสซิลเขาโต๊ะสามยอด
    • พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า 
    • งานสตูลจีโอพาร์ค ฟอสซิลเฟสติวัล
  • แหล่งท่องท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต
    • กลุ่มชาติพันธุ์เงาะป่ามันนิ (Mani Ethnic Group)
    • ประเพณีประเพณีลอยเรือ
    • ประเพณีไหว้ผีโบ๋
    • บ่อเจ็ดลูก
  • ผลิตภัณฑ์
    • Khao Coffee (karst topography)
    • ผ้ามัดย้อม ท่าอ้อย
    • หม้อข้าวหม้อแกงลิง
  • ติดต่อเรา
    • สมัครสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีสตูล
    • แบบสำรวจความคิดเห็น
    • ปฏิทินกิจกรรม
    • แผนที่เส้นทางท่องเที่ยว
    • วิดีโอพรีเซนต์

สงวนลิขสิทธิ์ © 2560 อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)